• เกี่ยวกับเรา
    • เกี่ยวกับองค์การสวนสัตว์
      • พระราชกฤษฎีกาจัดตั้งองค์การสวนสัตว์
      • ประวัติขององค์การสวนสัตว์
      • ประวัติของสวนสัตว์ไทย
      • วิสัยทัศน์ พันธกิจ และจริยธรรม
      • นโยบายการบริหารองค์การสวนสัตว์
    • โครงสร้างองค์กร
      • รัฐมนตรีว่าการกระทรวงฯ
      • คณะกรรมการองค์การสวนสัตว์
      • ผู้บริหารองค์การสวนสัตว์
      • โครงสร้างองค์การสวนสัตว์
      • คณะอนุกรรมการองค์การสวนสัตว์/คณะทำงาน
    • กระบวนการให้บริการ
      • การบริการการท่องเที่ยว
      • การบริการศูนย์ข้อมูลข่าวสาร
    • การกำกับดูแลกิจการ
      • การกำกับดูแลกิจการที่ดี(CG)
      • นโยบายความรับผิดชอบต่อสังคม(CSR)
      • การประเมินผลการดำเนินงานองค์กร
      • การป้องกันและปราบปรามการทุจริต
    • การเปิดเผยข้อมูล/สารสนเทศ
      • นโยบาย และแนวปฏิบัติ ด้านสารสนเทศ
      • การดำเนินงานการตามแผนปฏิบัติงานประจำปี
      • แผนรัฐวิสาหกิจ
      • รายงานการดำเนินงานร่วมกับหน่วยงานภายนอก
      • การร้องเรียน และรายงานสรุปเรื่องร้องเรียน
      • นโยบายความขัดแย้งทางผลประโยชน์
      • การบริหารความเสี่ยงและควบคุมภายใน
      • งบประมาณรายจ่ายประจำปี
        • แผนปฏิบัติการและแผนการใช้จ่ายงบประมาณรายจ่ายประจำปี
        • รายงานผลการใช้จ่ายงบประมาณรายจ่ายประจำปี
        • การติดตามและเร่งรัดการใช้จ่ายงบประมาณรายจ่ายประจำปี
    • กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศต่างๆ
    • คำถามที่พบบ่อย
  • ข่าวสาร
    • ข่าวสารและกิจกรรม
    • จัดซื้อจัดจ้าง
      • ประกาศร่าง-กำหนดและเงื่อนไข(TOR)
      • ประกาศราคากลาง
      • จัดซื้อจัดจ้าง
      • ประกาศผู้ชนะการเสนอราคาและเหตุผลที่คัดเลือก
      • สัญญาจัดซื้อจัดจ้าง
      • รายงานแผนและผลการจัดซื้อจัดจ้าง
      • สรุปผลการจัดซื้อจัดจ้างรายเดือนตามแบบ สขร.๑
        • สรุปผลการจัดซื้อจัดจ้างประจำปี ปั2561
        • สรุปผลการจัดซื้อจัดจ้างประจำปี ปั2562
        • สรุปผลการจัดซื้อจัดจ้างประจำปี ปั2563
        • สรุปผลการจัดซื้อจัดจ้าง ประจำปีงบประมาณ 2564
        • สรุปผลการจัดซื้อจัดจ้าง ประจำปีงบประมาณ 2564
      • รายงานการวิเคราะห์ผลการจัดซื้อจัดจ้างประจำปี
      • แผนปฏิบัติการจัดซื้อจัดจ้างประจำปีงบประมาณ
      • คู่มือการดำเนินการตามพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้าง
      • กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศต่างๆ
    • ข่าวรับสมัครงาน
    • ปฎิทินกิจกรรม
  • องค์ความรู้
    • เอกสารเผยแพร่
      • เอกสารอื่นๆที่เกี่ยวข้อง
      • รายงานผู้เข้าชมสวนสัตว์
      • รายงานทางการเงิน
      • รายงานประจำปี
      • จรรยาบรรณพนักงานองค์การสวนสัตว์
    • โครงการนำนักเรียน
    • โครงการที่น่าสนใจ
    • การเรียนรู้อนุรักษ์สัตว์ป่า
    • งานวิจัย
    • หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
    • สื่อวิดีโอ
    • อัลบั้มภาพ
    • สื่อส่งเสริมองค์ความรู้
      • องค์ความรู้เทคโนโลยีดิจิทัล
      • เรียนรู้ออนไลน์
      • มูลค่าเพิ่มทางเศรษฐศาสตร์ (EVM)
    • แนวทางการปฏิบัติงานวิจัยภายในองค์การสวนสัตว์ จากหน่วยงานภายนอก
      • ขั้นตอนการปฏิบัติฯ
      • แบบฟอร์มการขอใช้สถานที่
  • สารานุกรม
    • สารานุกรมสัตว์
      • สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม
      • สัตว์เลี้อยคลาน
      • สัตว์ปีก
      • สัตว์น้ำ
      • สะเทินน้ำสะเทินบก
      • สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
    • สารานุกรมพืช
  • จองบัตรสวนสัตว์
  • ติดต่อเรา
  • TH
    • EN
    • AE

  • TH
  • EN
  • AE

  1. วีดีโอประชาสัมพันธ์
  2. งานวิจัย

นกกระเรียนพันธุ์ไทย (Eastern Sarus Crane)

ประเทศไทยในอดีตเคยมีนกกระเรียนอาศัยอยู่เป็นจำนวนมาก โดยสามารถพบเห็นได้โดยทั่วไปเกือบทุกจังหวัดทั่วประเทศไทยชอบอาศัยอยู่บริเวณพื้นที่ชุ่มน้ำ พื้นที่ชุ่มน้ำ หมายถึงพื้นที่ที่เป็นที่ราบลุ่ม และมีน้ำขังเช่น หนองน้ำ นาข้าว สามารถพบนกกระเรียนพันธุ์ไทยได้มากตั้งแต่ภาคกลางขึ้นไป นกกระเรียนพันธุ์ไทย (Eastern Sarus Crane) มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Grus Antigone Sharpii เป็นนกที่มีความสวยงามมากๆ หลายๆ คนคงไม่เคยเห็นเพราะได้สูญพันธุ์ไปเมื่อประมาณ 30 ปีก่อน ตอนนี้ถ้าอยากเห็นตัวเป็นๆ ต้องตามไปดูที่สวนสัตว์ดุสิต(เขาดิน) หรือสวนสัตว์นครราชสีมา(สวนสัตว์โคราช)เท่านั้น ส่วนถ้าใครดูนกเป็นก็สามารถไปดูนกกระเรียนพันธุ์ไทยในธรรมชาติได้เลยที่จังหวัดบุรีรัมย์ เพราะตอนนี้สามารถเพาะเลี้ยงและปล่อยกลับคืนธรรมชาติได้แล้วแต่ยังมีจำนวนน้อยมากๆ และยังเสี่ยงที่จะกลับไปสูญพันธุ์อีกครั้ง สนใจติดตามนกกระเรียนพันธุ์ไทยเข้าไปลิ้งค์นี้ www.facebook.com/cranethailand

นกสำคัญของไทย นกสำคัญของอาเซียน

นำทุกท่านไปทำความรู้จักกับนกที่สำคัญแต่หลายคนอาจจะมองข้ามเรียกว่าเพชรในตมก็ว่าได้ พร้อมทั้งชมความสวยงามของกรงนกใหญ่ภายในสวนสัตว์เปิดเขาเขียว และเรียนรู้การอนุรักษ์ วิจัยพันธุ์สัตว์ป่าหายากขององค์การสวนสัตว์ ในพระบรมราชูปถัมภ์...

พญาแร้งคืนถิ่น EP.3

พญาแร้งสูญพันธุ์ไปจากธรรมชาติในประเทศไทยกว่า 2 ทศวรรษแล้ว อย่างที่เรารู้กันว่าพญาแร้งฝูงสุดท้ายในป่าห้วยขาแข้งตายเกือบหมดจากยาเบื่อในซากเก้งที่พรานป่าหวังจะเบื่อเสือโคร่ง นับจากนั้นก็ไม่พบพญาแร้งทำรังวางไข่ในป่าห้วยขาแข้ง หรือพื้นที่อื่นๆ ตามธรรมชาติ ในประเทศไทยอีกเลย ปัจจุบันมีพญาแร้งในการเพาะเลี้ยงที่ #สวนสัตว์นครราชสีมา #องค์การสวนสัตว์ และ #สถานีเพาะเลี้ยงสัตว์ป่าห้วยขาแข้ง รวมทั้งหมด 7 ตัว จึงเกิดเป็นโครงการความร่วมมือ ของ 3 หน่วยงาน ได้แก่ 1. องค์การสวนสัตว์ โดยสวนสัตว์นครราชสีมา และสำนักอนุรักษ์และวิจัย 2. กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธ์ุพืช 3. ม.เกษตรศาสตร์ โดยคณะวนศาสตร์ และสัตวแพทยศาสตร์ ร่วมมือกันทำโครงการฟื้นฟูประชากรพญาแร้งในถิ่นอาศัย คือ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง และนี้คือกลุ่มคนผู้มีส่วนร่วมกับโครงการฟื้นฟูประชากรพญาแร้งในถิ่นอาศัยของประเทศไทย ติดตามโครงการได้ที่ facebook โครงการ “การฟื้นฟูประชากรพญาแร้งในถิ่นอาศัยของประเทศไทย” facebook สำนักอนุรักษ์ และวิจัย Bureau of Conservation and Research

พญาแร้งคืนถิ่น EP.2

พญาแร้งสูญพันธุ์ไปจากธรรมชาติในประเทศไทยกว่า 2 ทศวรรษแล้ว อย่างที่เรารู้กันว่าพญาแร้งฝูงสุดท้ายในป่าห้วยขาแข้งตายเกือบหมดจากยาเบื่อในซากเก้งที่พรานป่าหวังจะเบื่อเสือโคร่ง นับจากนั้นก็ไม่พบพญาแร้งทำรังวางไข่ในป่าห้วยขาแข้ง หรือพื้นที่อื่นๆ ตามธรรมชาติ ในประเทศไทยอีกเลย ปัจจุบันมีพญาแร้งในการเพาะเลี้ยงที่ #สวนสัตว์นครราชสีมา #องค์การสวนสัตว์ และ #สถานีเพาะเลี้ยงสัตว์ป่าห้วยขาแข้ง รวมทั้งหมด 7 ตัว จึงเกิดเป็นโครงการความร่วมมือ ของ 3 หน่วยงาน ได้แก่ 1. องค์การสวนสัตว์ โดยสวนสัตว์นครราชสีมา และสำนักอนุรักษ์และวิจัย 2. กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธ์ุพืช 3. ม.เกษตรศาสตร์ โดยคณะวนศาสตร์ และสัตวแพทยศาสตร์ ร่วมมือกันทำโครงการฟื้นฟูประชากรพญาแร้งในถิ่นอาศัย คือ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง และนี้คือกลุ่มคนผู้มีส่วนร่วมกับโครงการฟื้นฟูประชากรพญาแร้งในถิ่นอาศัยของประเทศไทย ติดตามโครงการได้ที่ facebook โครงการ “การฟื้นฟูประชากรพญาแร้งในถิ่นอาศัยของประเทศไทย”

พญาแร้งคืนถิ่น EP.1

พญาแร้งสูญพันธุ์ไปจากธรรมชาติในประเทศไทยกว่า 2 ทศวรรษแล้ว อย่างที่เรารู้กันว่าพญาแร้งฝูงสุดท้ายในป่าห้วยขาแข้งตายเกือบหมดจากยาเบื่อในซากเก้งที่พรานป่าหวังจะเบื่อเสือโคร่ง นับจากนั้นก็ไม่พบพญาแร้งทำรังวางไข่ในป่าห้วยขาแข้ง หรือพื้นที่อื่นๆ ตามธรรมชาติ ในประเทศไทยอีกเลย ปัจจุบันมีพญาแร้งในการเพาะเลี้ยงที่ #สวนสัตว์นครราชสีมา #องค์การสวนสัตว์ และ #สถานีเพาะเลี้ยงสัตว์ป่าห้วยขาแข้ง รวมทั้งหมด 7 ตัว จึงเกิดเป็นโครงการความร่วมมือ ของ 3 หน่วยงาน ได้แก่ 1. องค์การสวนสัตว์ โดยสวนสัตว์นครราชสีมา และสำนักอนุรักษ์และวิจัย 2. กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธ์ุพืช 3. ม.เกษตรศาสตร์ โดยคณะวนศาสตร์ และสัตวแพทยศาสตร์ ร่วมมือกันทำโครงการฟื้นฟูประชากรพญาแร้งในถิ่นอาศัย คือ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง และนี้คือกลุ่มคนผู้มีส่วนร่วมกับโครงการฟื้นฟูประชากรพญาแร้งในถิ่นอาศัยของประเทศไทย ติดตามโครงการได้ที่ facebook โครงการ “การฟื้นฟูประชากรพญาแร้งในถิ่นอาศัยของประเทศไทย” facebook สำนักอนุรักษ์ และวิจัย Bureau of Conservation and Research facebook หน่วยฟื้นฟูนกล่าเหยื่อ kasetsart university raptor rehabilitation unit facebook สำนักอนุรักษ์สัตว์ป่า wildlife conservation bureau, thailand YouTube ช่อง Bureau of Conservation and Research ZPO Thailand

  • 1

  • iso-logo
  • ie
  • chrome
  • firefox
  • safari

เว็บไซต์นี้แสดงผลดีที่สุดบน Google Chrome 60.0.3112.114 แสดงผลได้ทุกขนาดหน้าจอ

  • wcag2A
  • vcss
  • นโยบายเว็บไซต์
  • นโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
  • การปฏิเสธการรับผิดชอบ
  • นโยบายการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของเว็บไซต์

2559 สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ โดย องค์การสวนสัตว์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ | ผู้เข้าชมเว็บไซต์ : 2010456